เช่ารถเฮี๊ยบ รถบรรทุกติดเครนรุ่นใหม่ได้มาตรฐาน

เช่ารถเฮี๊ยบ

เช่ารถเฮี๊ยบ หรือที่เรียกกันว่ารถปั้นจั่นในภาษาทางการนั้นก็คือรถที่มีความปลอดภัยสูงในการใช้ยกวัตถุที่มีน้ำหนักมาก เช่ารถเฮี๊ยบ นั้นมีหลายประเภทด้วยกันซึ่งล้วนแต่มีการพัฒนาการมาจากหลากหลายประเทศ ซึ่งประเทศไทยไม่ได้เป็นประเทศที่ผลิตรถเครนทำให้ต้องมีการนำเข้าจากต่างประเทศ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นในประเทศไทยเราใช้รถเครนเพียงไม่กี่ประเภท ซึ่ง รถเฮี๊ยบ นั้นสามารถแบ่งตามประเภทหลักๆได้เป็น2ประเภทก็คือรถเครนชนิดที่เคลื่อนที่กับรถเครนชนิดที่ไม่เคลื่อนที่

เช่ารถเฮี๊ยบ ที่ลูกค้ามากมายไว้วางใจมาเป็นเวลานาน โดยมีให้เช่าตั้งแต่ 10-60 ตัน ครอบคลุมทุกรูปแบบของงาน ราคาของรถเครนในแต่ละขนาดก็แตกต่างกันออกไป ซึ่งในการเลือกใช้รถก็ต้องเลือกตามความเหมาะสมของรูปแบบงาน เพราะรถเครนแต่ละขนาดมีวิธีการใช้ที่แตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ในเมื่อรถเครนแต่ละขนาดนั้นมีการกำหนดน้ำหนักมาตรฐานที่สามารถรองรับได้ดังนั้นในการใช้รถเครนจึงจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติตามนั้น ห้ามบรรทุกน้ำหนักเกินกว่าที่กำหนดโดยเด็ดขาดเพราะอาจทำให้เกิดอันตรายได้

หลายคนอาจจะนึกภาพไม่ออกว่ารถชนิดที่เคลื่อนที่กับรถเฮี๊ยบ ชนิดที่ไม่เคลื่อนที่คือรถแบบไหน รถชนิดที่เคลื่อนที่ (mobile Cranes) เช่น เช่ารถเฮี๊ยบ ตีนตะขาบ รถเครนสี่ล้อ รถเครนใหญ่ ส่วนรถเครนชนิดที่ไม่เคลื่อนที่ (Stationary Cranes) เช่น รถเครนหอสูง รถเครนราง รถเครนขาสูง เป็นต้น ซึ่งรถเครนแต่ละประเภทนั้นก็จะมีการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเช่ารถเฮี๊ยบ ที่ใช้หลักๆในประเทศไทยนั้นได้แก่ รถเครนสี่ล้อ รถเครนบิ๊กฟุต และ รถเครนสั้น

รถบรรทุกติดเครน หรือที่เรียกกันติดปากว่า “รถเฮี๊ยบ” เป็นรถบรรทุกแบบพิเศษ ที่สามารถบรรทุก และยกสิ่งของได้ ด้วยแขนเครนขนาดต่างๆ ที่ติดตั้งในส่วนหนึ่งของกระบะรถบรรทุก เช่น เครน 5 ตัน 5 ปลอก, เครน 5 ตัน 4 ปลอก, เครน 3 ตัน 2 ปลอก ฯลฯ ซึ่งยืดปลายบูมสูงสุดได้ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับจำนวนของข้อปลอก และสิ่งของที่ยกต้องมีน้ำหนักที่ไม่เกินข้อกำหนดของการใช้เครน การบรรทุกน้ำหนักต้องเป็นไปตามกฏหมายกำหนด เพื่อช่วยรักษาสภาพถนนหนทาง ให้คงใช้งานได้อย่างยาวนานที่สุด

พนักงานต้องผ่านการฝึกอบรมด้านการควบคุมเครน (ใบ Certificate) และต้องมีการตรวจสอบสภาพการใช้งานจากวิศวกรอย่างสม่ำเสมอ(ใบ ปจ.2) เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากชำรุดของอุปกรณ์

และเนื่องจากเป็นรถบรรทุก พนักงานขับจึงต้องมีใบขับขี่ประเภท บ.2 (รถส่วนบุคคล ป้ายสีขาว) หรือประเภท ท.2 (รถทุกประเภท ป้ายทะเบียนสีเหลือง)